ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #165 เมื่อ: 23กุมภาพันธ์2024, 10:38:53am »
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #166 เมื่อ: 23กุมภาพันธ์2024, 11:26:39am »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #167 เมื่อ: 23กุมภาพันธ์2024, 13:22:10pm »
ท่อตัน กลิ่นเหม็น ปัญหาใหญ่ในบ้าน!
ท่อน้ำตันและกลิ่นเหม็นเป็นปัญหาใหญ่ที่สร้างความรำคาญและความยุ่งยากให้กับหลายๆ บ้าน  ปัญหานี้เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ  เช่น  เส้นผม  ไขมัน  เศษอาหาร  สิ่งสกปรกต่างๆ   สะสมในท่อ

บทความนี้  จะแนะนำวิธีทำความสะอาดท่อ  เพื่อแก้ปัญหาท่อตันและกลิ่นเหม็น   ดังนี้

1.  วิธีธรรมชาติ

น้ำส้มสายชูและเบกกิ้งโซดา

เทเบกกิ้งโซดา 1 ถ้วยตวง ลงในท่อ
เทน้ำส้มสายชูกลั่น 1 ถ้วยตวง ตามลงไป
ปิดปากท่อ ทิ้งไว้ 30 นาที
ราดน้ำร้อน 1 กาละมัง ลงไป
น้ำยาล้างจาน

เทน้ำยาล้างจาน 1/2 ถ้วยตวง ลงในท่อ
เทน้ำร้อน 1 กาละมัง ตามลงไป
2.  น้ำยาล้างท่อ

สวมถุงมือ ยาง และ หน้ากากอนามัย
เทน้ำยาล้างท่อ ตามปริมาณที่ระบุบนฉลาก
ทิ้งไว้ 30 นาที
ราดน้ำร้อน 1 กาละมัง ลงไป
3.  ไม้แขวนเสื้อ

ดัดไม้แขวนเสื้อให้ตรง
งอปลายด้านหนึ่งเป็นตะขอ
แหย่ไม้แขวนเสื้อ เข้าไปในท่อ ดึงสิ่งสกปรก เส้นผม ออก
4.  ปั๊มยาง

วางปั๊มยาง บนปากท่อ
กดปั๊มยาง ขึ้นลง หลายๆ ครั้ง
แรงดัน จะช่วยดันสิ่งสกปรก ที่อุดตัน หลุดออก
5.  ช่างประปา

หากลองวิธีต่างๆ แล้ว ยังไม่สำเร็จ
ควรเรียกช่างประปา มาช่วยแก้ไข
6.  ป้องกันปัญหาน้ำย้อน

ติดตั้งตะแกรงดักเศษอาหาร
ไม่เทน้ำมัน ไขมัน ลงในท่อ
ทำความสะอาดท่อ เป็นประจำ
การทำความสะอาดท่อ  เป็นประจำ   จะช่วยป้องกันปัญหาน้ำย้อน  ท่อตัน   และกลิ่นเหม็น   ทำให้บ้านของคุณสะอาด   น่าอยู่
โปรโมชั่นสำหรับคุณ เครื่องเชื่อมท่อ ppr ท่อppr คือppr pipeขนาดท่อ ppr

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #168 เมื่อ: 23กุมภาพันธ์2024, 13:23:29pm »
ท่อตัน กลิ่นเหม็น ปัญหาใหญ่ในบ้าน!
ท่อน้ำตันและกลิ่นเหม็นเป็นปัญหาใหญ่ที่สร้างความรำคาญและความยุ่งยากให้กับหลายๆ บ้าน  ปัญหานี้เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ  เช่น  เส้นผม  ไขมัน  เศษอาหาร  สิ่งสกปรกต่างๆ   สะสมในท่อ

บทความนี้  จะแนะนำวิธีทำความสะอาดท่อ  เพื่อแก้ปัญหาท่อตันและกลิ่นเหม็น   ดังนี้

1.  วิธีธรรมชาติ

น้ำส้มสายชูและเบกกิ้งโซดา

เทเบกกิ้งโซดา 1 ถ้วยตวง ลงในท่อ
เทน้ำส้มสายชูกลั่น 1 ถ้วยตวง ตามลงไป
ปิดปากท่อ ทิ้งไว้ 30 นาที
ราดน้ำร้อน 1 กาละมัง ลงไป
น้ำยาล้างจาน

เทน้ำยาล้างจาน 1/2 ถ้วยตวง ลงในท่อ
เทน้ำร้อน 1 กาละมัง ตามลงไป
2.  น้ำยาล้างท่อ

สวมถุงมือ ยาง และ หน้ากากอนามัย
เทน้ำยาล้างท่อ ตามปริมาณที่ระบุบนฉลาก
ทิ้งไว้ 30 นาที
ราดน้ำร้อน 1 กาละมัง ลงไป
3.  ไม้แขวนเสื้อ

ดัดไม้แขวนเสื้อให้ตรง
งอปลายด้านหนึ่งเป็นตะขอ
แหย่ไม้แขวนเสื้อ เข้าไปในท่อ ดึงสิ่งสกปรก เส้นผม ออก
4.  ปั๊มยาง

วางปั๊มยาง บนปากท่อ
กดปั๊มยาง ขึ้นลง หลายๆ ครั้ง
แรงดัน จะช่วยดันสิ่งสกปรก ที่อุดตัน หลุดออก
5.  ช่างประปา

หากลองวิธีต่างๆ แล้ว ยังไม่สำเร็จ
ควรเรียกช่างประปา มาช่วยแก้ไข
6.  ป้องกันปัญหาน้ำย้อน

ติดตั้งตะแกรงดักเศษอาหาร
ไม่เทน้ำมัน ไขมัน ลงในท่อ
ทำความสะอาดท่อ เป็นประจำ
การทำความสะอาดท่อ  เป็นประจำ   จะช่วยป้องกันปัญหาน้ำย้อน  ท่อตัน   และกลิ่นเหม็น   ทำให้บ้านของคุณสะอาด   น่าอยู่
โปรโมชั่นสำหรับคุณ เครื่องเชื่อมท่อ ppr ท่อppr คือppr pipeขนาดท่อ ppr

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #169 เมื่อ: 27กุมภาพันธ์2024, 13:30:40pm »
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #170 เมื่อ: 27กุมภาพันธ์2024, 13:51:00pm »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #171 เมื่อ: 28กุมภาพันธ์2024, 14:11:19pm »
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #172 เมื่อ: 28กุมภาพันธ์2024, 15:56:06pm »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #173 เมื่อ: 28กุมภาพันธ์2024, 16:29:20pm »
**ท่อ PPR คืออะไร**

ท่อ PPR (Polypropylene Random Copolymer) คือท่อพลาสติกที่ผลิตจากเม็ดพลาสติกโพลีโพรไพลีน (PP) ชนิด Random Copolymer ซึ่งเป็นพลาสติกคุณภาพสูง มีความแข็งแรง ทนทานต่อแรงดัน ความร้อน และสารเคมี ท่อ PPR นิยมใช้ในงานระบบประปา ทั้งน้ำร้อนและน้ำเย็น รวมถึงงานระบบท่ออื่นๆ เช่น ระบบทำความเย็น ระบบทำความร้อน เป็นต้น

**คุณสมบัติของท่อ PPR**

* มีความแข็งแรง ทนทานต่อแรงดัน ความร้อน และสารเคมี
* ทนทานต่อการเกิดสนิมและตะกรัน
* ไม่เป็นสื่อนำไฟฟ้า
* ปลอดสารพิษ
* สะอาด ถูกสุขอนามัย
* น้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย
* มีราคาไม่แพง

**ประเภทของท่อ PPR**

ท่อ PPR แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ตามชั้นความดัน คือ

* **ท่อ PPR ชนิด PN10** ทนแรงดันได้ 10 บาร์ เหมาะสำหรับงานระบบประปาน้ำเย็นและน้ำร้อน

* **ท่อ PPR ชนิด PN20** ทนแรงดันได้ 20 บาร์ เหมาะสำหรับงานระบบประปาน้ำร้อนที่มีแรงดันสูง


**ข้อดีของการใช้ท่อ PPR**

ท่อ PPR มีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* มีความแข็งแรง ทนทาน จึงมีอายุการใช้งานยาวนาน
* ทนต่อแรงดันและอุณหภูมิสูง จึงเหมาะสำหรับงานระบบประปาน้ำร้อน
* ไม่เป็นสื่อนำไฟฟ้า จึงปลอดภัยจากไฟฟ้าช็อต
* ปลอดสารพิษ จึงปลอดภัยต่อสุขภาพ
* สะอาด ถูกสุขอนามัย จึงเหมาะสำหรับใช้ในงานระบบประปา
* น้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย จึงประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย

**การใช้งานท่อ PPR**

ท่อ PPR นิยมใช้ในงานระบบประปา ทั้งน้ำร้อนและน้ำเย็น รวมถึงงานระบบท่ออื่นๆ เช่น ระบบทำความเย็น ระบบทำความร้อน เป็นต้น ตัวอย่างการใช้งานท่อ PPR มีดังนี้

* ระบบประปาภายในอาคาร เช่น ท่อน้ำประปา ท่อน้ำร้อน ท่อน้ำเย็น
* ระบบประปาภายนอกอาคาร เช่น ท่อน้ำประปาในสวน ท่อน้ำประปาในโรงงานอุตสาหกรรม
* ระบบทำความเย็น เช่น ท่อน้ำยาแอร์
* ระบบทำความร้อน เช่น ท่อน้ำร้อนในระบบทำความร้อน

**สรุป**

ท่อ PPR เป็นท่อพลาสติกคุณภาพสูงที่มีคุณสมบัติเด่นหลายประการ จึงนิยมใช้ในงานระบบประปาและงานระบบท่ออื่นๆ ท่อ PPR มีข้อดีหลายประการ เช่น มีความแข็งแรง ทนทานต่อแรงดัน ความร้อน
และสารเคมี ทนทานต่อการเกิดสนิมและตะกรัน ไม่เป็นสื่อนำไฟฟ้า ปลอดสารพิษ สะอาด ถูกสุขอนามัย และน้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย

โปรโมชั่นสำหรับคุณ เครื่องเชื่อมท่อ ppr ท่อppr คือppr pipeขนาดท่อ ppr

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #174 เมื่อ: 29กุมภาพันธ์2024, 09:27:38am »
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #175 เมื่อ: 29กุมภาพันธ์2024, 10:01:34am »
เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ…

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก “สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #176 เมื่อ: 29กุมภาพันธ์2024, 13:29:11pm »
**ท่อ PPR คืออะไร**

ท่อ PPR (Polypropylene Random Copolymer) คือท่อพลาสติกที่ผลิตจากเม็ดพลาสติกโพลีโพรไพลีน (PP) ชนิด Random Copolymer ซึ่งเป็นพลาสติกคุณภาพสูง มีความแข็งแรง ทนทานต่อแรงดัน ความร้อน และสารเคมี ท่อ PPR นิยมใช้ในงานระบบประปา ทั้งน้ำร้อนและน้ำเย็น รวมถึงงานระบบท่ออื่นๆ เช่น ระบบทำความเย็น ระบบทำความร้อน เป็นต้น

**คุณสมบัติของท่อ PPR**

* มีความแข็งแรง ทนทานต่อแรงดัน ความร้อน และสารเคมี
* ทนทานต่อการเกิดสนิมและตะกรัน
* ไม่เป็นสื่อนำไฟฟ้า
* ปลอดสารพิษ
* สะอาด ถูกสุขอนามัย
* น้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย
* มีราคาไม่แพง

**ประเภทของท่อ PPR**

ท่อ PPR แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ตามชั้นความดัน คือ

* **ท่อ PPR ชนิด PN10** ทนแรงดันได้ 10 บาร์ เหมาะสำหรับงานระบบประปาน้ำเย็นและน้ำร้อน

* **ท่อ PPR ชนิด PN20** ทนแรงดันได้ 20 บาร์ เหมาะสำหรับงานระบบประปาน้ำร้อนที่มีแรงดันสูง


**ข้อดีของการใช้ท่อ PPR**

ท่อ PPR มีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* มีความแข็งแรง ทนทาน จึงมีอายุการใช้งานยาวนาน
* ทนต่อแรงดันและอุณหภูมิสูง จึงเหมาะสำหรับงานระบบประปาน้ำร้อน
* ไม่เป็นสื่อนำไฟฟ้า จึงปลอดภัยจากไฟฟ้าช็อต
* ปลอดสารพิษ จึงปลอดภัยต่อสุขภาพ
* สะอาด ถูกสุขอนามัย จึงเหมาะสำหรับใช้ในงานระบบประปา
* น้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย จึงประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย

**การใช้งานท่อ PPR**

ท่อ PPR นิยมใช้ในงานระบบประปา ทั้งน้ำร้อนและน้ำเย็น รวมถึงงานระบบท่ออื่นๆ เช่น ระบบทำความเย็น ระบบทำความร้อน เป็นต้น ตัวอย่างการใช้งานท่อ PPR มีดังนี้

* ระบบประปาภายในอาคาร เช่น ท่อน้ำประปา ท่อน้ำร้อน ท่อน้ำเย็น
* ระบบประปาภายนอกอาคาร เช่น ท่อน้ำประปาในสวน ท่อน้ำประปาในโรงงานอุตสาหกรรม
* ระบบทำความเย็น เช่น ท่อน้ำยาแอร์
* ระบบทำความร้อน เช่น ท่อน้ำร้อนในระบบทำความร้อน

**สรุป**

ท่อ PPR เป็นท่อพลาสติกคุณภาพสูงที่มีคุณสมบัติเด่นหลายประการ จึงนิยมใช้ในงานระบบประปาและงานระบบท่ออื่นๆ ท่อ PPR มีข้อดีหลายประการ เช่น มีความแข็งแรง ทนทานต่อแรงดัน ความร้อน
และสารเคมี ทนทานต่อการเกิดสนิมและตะกรัน ไม่เป็นสื่อนำไฟฟ้า ปลอดสารพิษ สะอาด ถูกสุขอนามัย และน้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย

โปรโมชั่นสำหรับคุณ เครื่องเชื่อมท่อ ppr ท่อppr คือppr pipeขนาดท่อ ppr

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #177 เมื่อ: 29กุมภาพันธ์2024, 13:29:35pm »
**ท่อ PPR คืออะไร**

ท่อ PPR (Polypropylene Random Copolymer) คือท่อพลาสติกที่ผลิตจากเม็ดพลาสติกโพลีโพรไพลีน (PP) ชนิด Random Copolymer ซึ่งเป็นพลาสติกคุณภาพสูง มีความแข็งแรง ทนทานต่อแรงดัน ความร้อน และสารเคมี ท่อ PPR นิยมใช้ในงานระบบประปา ทั้งน้ำร้อนและน้ำเย็น รวมถึงงานระบบท่ออื่นๆ เช่น ระบบทำความเย็น ระบบทำความร้อน เป็นต้น

**คุณสมบัติของท่อ PPR**

* มีความแข็งแรง ทนทานต่อแรงดัน ความร้อน และสารเคมี
* ทนทานต่อการเกิดสนิมและตะกรัน
* ไม่เป็นสื่อนำไฟฟ้า
* ปลอดสารพิษ
* สะอาด ถูกสุขอนามัย
* น้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย
* มีราคาไม่แพง

**ประเภทของท่อ PPR**

ท่อ PPR แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ตามชั้นความดัน คือ

* **ท่อ PPR ชนิด PN10** ทนแรงดันได้ 10 บาร์ เหมาะสำหรับงานระบบประปาน้ำเย็นและน้ำร้อน

* **ท่อ PPR ชนิด PN20** ทนแรงดันได้ 20 บาร์ เหมาะสำหรับงานระบบประปาน้ำร้อนที่มีแรงดันสูง


**ข้อดีของการใช้ท่อ PPR**

ท่อ PPR มีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* มีความแข็งแรง ทนทาน จึงมีอายุการใช้งานยาวนาน
* ทนต่อแรงดันและอุณหภูมิสูง จึงเหมาะสำหรับงานระบบประปาน้ำร้อน
* ไม่เป็นสื่อนำไฟฟ้า จึงปลอดภัยจากไฟฟ้าช็อต
* ปลอดสารพิษ จึงปลอดภัยต่อสุขภาพ
* สะอาด ถูกสุขอนามัย จึงเหมาะสำหรับใช้ในงานระบบประปา
* น้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย จึงประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย

**การใช้งานท่อ PPR**

ท่อ PPR นิยมใช้ในงานระบบประปา ทั้งน้ำร้อนและน้ำเย็น รวมถึงงานระบบท่ออื่นๆ เช่น ระบบทำความเย็น ระบบทำความร้อน เป็นต้น ตัวอย่างการใช้งานท่อ PPR มีดังนี้

* ระบบประปาภายในอาคาร เช่น ท่อน้ำประปา ท่อน้ำร้อน ท่อน้ำเย็น
* ระบบประปาภายนอกอาคาร เช่น ท่อน้ำประปาในสวน ท่อน้ำประปาในโรงงานอุตสาหกรรม
* ระบบทำความเย็น เช่น ท่อน้ำยาแอร์
* ระบบทำความร้อน เช่น ท่อน้ำร้อนในระบบทำความร้อน

**สรุป**

ท่อ PPR เป็นท่อพลาสติกคุณภาพสูงที่มีคุณสมบัติเด่นหลายประการ จึงนิยมใช้ในงานระบบประปาและงานระบบท่ออื่นๆ ท่อ PPR มีข้อดีหลายประการ เช่น มีความแข็งแรง ทนทานต่อแรงดัน ความร้อน
และสารเคมี ทนทานต่อการเกิดสนิมและตะกรัน ไม่เป็นสื่อนำไฟฟ้า ปลอดสารพิษ สะอาด ถูกสุขอนามัย และน้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย

โปรโมชั่นสำหรับคุณ เครื่องเชื่อมท่อ ppr ท่อppr คือppr pipeขนาดท่อ ppr

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #178 เมื่อ: 29กุมภาพันธ์2024, 13:48:56pm »
** ท่อน้ำร้อนสำหรับบ้าน เลือกอย่างไรให้เหมาะสม

ท่อน้ำร้อนเป็นสิ่งสำคัญสำหรับบ้านที่ต้องการใช้น้ำร้อนสำหรับทำกิจกรรมต่างๆ เช่น อาบน้ำ ล้างจาน หรือทำอาหาร การเลือกท่อน้ำร้อนที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง บทความนี้จะแนะนำวิธีการเลือกท่อน้ำร้อนสำหรับบ้านอย่างเหมาะสม

**ประเภทของท่อน้ำร้อน**

ท่อน้ำร้อนที่นิยมใช้กันในปัจจุบันมี 2 ประเภทหลักๆ คือ

* ท่อเหล็กอาบสังกะสี (Galvanized Steel Pipe) เป็นท่อที่ผลิตจากเหล็กกล้า ผ่านการอาบสังกะสีเพื่อชะลอการเกิดสนิม ท่อเหล็กอาบสังกะสีมีความแข็งแรง ทนทาน แต่มีน้ำหนักมาก ติดตั้งยาก และเกิดการสูญเสียความร้อนสูง
* ท่อ PPR (Polypropylene Random Copolymer Pipe) เป็นท่อพลาสติกชนิดหนึ่ง ผลิตจากโพลีโพรพิลีน (PP) ซึ่งมีคุณสมบัติทนความร้อนสูง ทนแรงดันได้ดี น้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย และไม่เป็นสนิม ท่อ PPR เป็นที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีและราคาไม่แพง

**วิธีเลือกซื้อท่อน้ำร้อน**

ในการเลือกซื้อท่อน้ำร้อนสำหรับบ้าน ควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ ดังนี้

* ขนาดท่อน้ำร้อน ควรเลือกให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น ท่อน้ำร้อนสำหรับอาบน้ำควรใช้ท่อขนาด 16-20 มิลลิเมตร
* คุณภาพของท่อน้ำร้อน ควรเลือกท่อที่ผลิตจากวัสดุคุณภาพดี เช่น ท่อ PPR ที่ได้มาตรฐาน ISO 9001
* ราคาท่อน้ำร้อน ควรเลือกท่อที่ราคาเหมาะสมกับงบประมาณ

**ข้อควรระวังในการเลือกซื้อท่อน้ำร้อน**

* ไม่ควรเลือกซื้อท่อน้ำร้อนที่มีราคาถูกเกินไป เนื่องจากอาจมีคุณภาพต่ำและอายุการใช้งานสั้น
* ไม่ควรเลือกซื้อท่อน้ำร้อนที่มีขนาดท่อเล็กเกินไป เนื่องจากอาจทำให้น้ำร้อนไหลได้ไม่สะดวก
* ไม่ควรเลือกซื้อท่อน้ำร้อนที่มีขนาดท่อใหญ่เกินไป เนื่องจากจะทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณ

**การติดตั้งท่อน้ำร้อน**

การติดตั้งท่อน้ำร้อนควรดำเนินการโดยช่างประปาที่มีประสบการณ์ เนื่องจากจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์และเครื่องมือเฉพาะในการเชื่อมท่อน้ำร้อน

**การดูแลรักษาท่อน้ำร้อน**

การดูแลรักษาท่อน้ำร้อนมีดังนี้

* ควรทำความสะอาดท่อน้ำร้อนเป็นประจำด้วยน้ำสะอาด
* หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกร่อนกับท่อน้ำร้อน
* หากท่อน้ำร้อนเกิดความเสียหาย ควรเปลี่ยนท่อใหม่ทันที

**สรุป**

การเลือกท่อน้ำร้อนสำหรับบ้านควรพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น ขนาดท่อน้ำร้อน คุณภาพของท่อน้ำร้อน และราคาท่อน้ำร้อน นอกจากนี้
ควรติดตั้งท่อน้ำร้อนโดยช่างประปาที่มีประสบการณ์ และควรดูแลรักษาท่อน้ำร้อนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ท่อน้ำร้อนมีอายุการใช้งานยาวนาน
โปรโมชั่นสำหรับคุณ เครื่องเชื่อมท่อ ppr ท่อppr คือppr pipeขนาดท่อ ppr

Re: ลวดที่ใช้ในการผลิตลวดหนาม
« ตอบกลับ #179 เมื่อ: 29กุมภาพันธ์2024, 14:24:19pm »
**วางท่อน้ำในบ้าน**

ท่อน้ำเป็นองค์ประกอบสำคัญในระบบประปาภายในบ้าน ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำไปยังจุดต่างๆ ในบ้าน เช่น ห้องน้ำ ห้องครัว อ่างล้างหน้า เป็นต้น การวางท่อน้ำที่ดีจะช่วยให้ระบบประปาในบ้านทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

**ประเภทของท่อน้ำ**

ท่อน้ำในบ้านมีให้เลือกหลายประเภท ขึ้นอยู่กับการใช้งานและวัสดุที่ใช้ ประเภทของท่อน้ำที่นิยมใช้กันในบ้าน ได้แก่

* **ท่อเหล็ก** ท่อเหล็กมีความแข็งแรงทนทาน แต่มีน้ำหนักมาก และมีโอกาสเกิดสนิมได้ง่าย
* **ท่อทองแดง** ท่อทองแดงมีความแข็งแรงทนทานต่อสนิม แต่มีราคาแพง
* **ท่อ PVC** ท่อ PVC มีความแข็งแรงทนทานต่อสนิม น้ำหนักเบา และราคาไม่แพง
* **ท่อ PPR** ท่อ PPR มีความแข็งแรงทนทานต่อสนิม น้ำหนักเบา และทนความร้อนสูง

**ขั้นตอนในการวางท่อน้ำ**

ขั้นตอนในการวางท่อน้ำมีดังนี้

1. **ออกแบบระบบท่อน้ำ** ขั้นตอนแรกต้องออกแบบระบบท่อน้ำให้เหมาะสมกับการใช้งานและพื้นที่ภายในบ้าน โดยพิจารณาปัจจัยต่างๆ เช่น จำนวนจุดใช้น้ำ ระยะทางของท่อน้ำ เป็นต้น
2. **เตรียมวัสดุและอุปกรณ์** เตรียมวัสดุและอุปกรณ์ที่จำเป็นในการวางท่อน้ำ เช่น ท่อน้ำ อุปกรณ์เชื่อมต่อท่อน้ำ เครื่องมือช่าง เป็นต้น
3. **เจาะรูผนังและพื้น** เจาะรูผนังและพื้นตามแนวที่ต้องการวางท่อน้ำ โดยควรใช้เครื่องเจาะไฟฟ้าที่มีกำลังไฟเหมาะสมกับวัสดุของผนังและพื้น
4. **เดินท่อน้ำ** นำท่อน้ำเดินไปตามแนวที่เจาะไว้ โดยควรยึดท่อน้ำให้แน่นด้วยอุปกรณ์เชื่อมต่อท่อน้ำ
5. **ทดสอบระบบท่อน้ำ** เมื่อวางท่อน้ำเสร็จแล้ว ให้ทำการทดสอบระบบท่อน้ำ เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีการรั่วซึม

**ข้อควรระวังในการวางท่อน้ำ**

ในการวางท่อน้ำควรคำนึงถึงข้อควรระวังต่างๆ ดังนี้

* ควรเลือกใช้ท่อน้ำที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
* ควรติดตั้งท่อน้ำให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล
* ควรติดตั้งท่อน้ำให้แข็งแรงทนทาน
* ควรติดตั้งท่อน้ำให้ปราศจากการรั่วซึม

**สรุป**

การวางท่อน้ำในบ้านเป็นงานสำคัญที่ควรดำเนินการอย่างรอบคอบและระมัดระวัง เพื่อให้ระบบประปาในบ้านทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
โปรโมชั่นสำหรับคุณ เครื่องเชื่อมท่อ ppr ท่อppr คือppr pipeขนาดท่อ ppr

 

ลงประกาศฟรี โฆษณาฟรี ลงประกาศขายบ้านฟรี ลงประกาศขายบ้าน ขายที่ดิน ขายคอนโด ขายรถ สินค้าอุตสาหกรรม อาหารเสริม เครื่องสำอางค์ แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว โปรโมทสินค้าฟรี เว็บประกาศฟรี ติดอันดับ Google