เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!


เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

**เลี้ยงกุ้ง อาชีพหลักที่สร้างรายได้มั่นคง**

กุ้งเป็นสัตว์น้ำที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย ดูแลไม่ยุ่งยาก และสามารถให้ผลผลิตได้สูง เลี้ยงกุ้งเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้มั่นคงให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี

**ประเภทของกุ้ง**

กุ้งมีหลากหลายสายพันธุ์ให้เลือกเลี้ยง แต่ละสายพันธุ์มีจุดเด่นที่แตกต่างกันออกไป ที่นิยมเลี้ยงกัน ได้แก่

* **กุ้งกุลาดำ** เป็นกุ้งที่เลี้ยงกันทั่วไปในประเทศไทย ทนทานต่อสภาพอากาศและโรคภัยไข้เจ็บ
* **กุ้งขาวแวนนาไม** เป็นกุ้งที่เลี้ยงกันมากในต่างประเทศ โตเร็ว ให้ผลผลิตสูง
* **กุ้งก้ามกราม** เป็นกุ้งที่มีรสชาติดี นิยมบริโภคกันมาก

**การเตรียมการเลี้ยงกุ้ง**

ก่อนเลี้ยงกุ้งควรเตรียมการดังนี้

* **เลือกพื้นที่เลี้ยง** พื้นที่เลี้ยงควรอยู่ใกล้แหล่งน้ำ มีน้ำไหลผ่าน มีระบบระบายน้ำที่ดี
* **สร้างบ่อกุ้ง** บ่อกุ้งควรมีขนาดใหญ่พอสำหรับจำนวนกุ้งที่จะเลี้ยง บ่อควรมีหลังคาเพื่อป้องกันแดดและฝน
* **เตรียมอุปกรณ์เลี้ยงกุ้ง** อุปกรณ์เลี้ยงกุ้ง ได้แก่ อาหารกุ้ง น้ำดื่มกุ้ง กรงเลี้ยงกุ้ง

**การดูแลรักษากุ้ง**

การดูแลรักษากุ้งสามารถทำได้ดังนี้

* **ให้อาหารกุ้ง** ควรให้อาหารกุ้งอย่างสม่ำเสมอ อาหารกุ้งควรมีครบถ้วนทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่
* **ให้น้ำดื่มกุ้ง** ควรให้น้ำดื่มกุ้งอย่างสะอาดและเพียงพอ
* **ควบคุมอุณหภูมิและคุณภาพน้ำ** อุณหภูมิของน้ำที่เหมาะสมในการเลี้ยงกุ้งคือ 25-30 องศาเซลเซียส คุณภาพน้ำควรมีค่า pH ประมาณ 7.5-8.5
* **ป้องกันโรคกุ้ง** ควรหมั่นตรวจสุขภาพกุ้งอย่างสม่ำเสมอ และป้องกันโรคกุ้งตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่

**เคล็ดลับการเลี้ยงกุ้ง**

* เลือกสายพันธุ์กุ้งที่เหมาะกับความต้องการของตนเอง
* เตรียมการเลี้ยงกุ้งให้พร้อมก่อนเลี้ยง
* ดูแลรักษากุ้งอย่างสม่ำเสมอ

การเลี้ยงกุ้งเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้มั่นคงให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี เพียงศึกษาข้อมูลและเตรียมการอย่างรอบคอบก็สามารถเลี้ยงกุ้งให้ประสบความสำเร็จ

**ข้อดีของการเลี้ยงกุ้ง**

* เลี้ยงง่าย ดูแลไม่ยุ่งยาก
* สามารถให้ผลผลิตได้สูง
* ตลาดมีความต้องการสูง

**ข้อเสียของการเลี้ยงกุ้ง**

* ลงทุนเริ่มต้นค่อนข้างสูง
* เสี่ยงต่อโรคระบาด

**ช่องทางการจำหน่ายผลผลิตกุ้ง**

* ขายส่งให้กับพ่อค้าคนกลาง
* ขายปลีกให้กับผู้บริโภคโดยตรง
* ส่งออกไปยังต่างประเทศ

การเลี้ยงกุ้งเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้มั่นคงให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี เพียงศึกษาข้อมูลและเตรียมการอย่างรอบคอบก็สามารถเลี้ยงกุ้งให้ประสบความสำเร็จ
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

**เลี้ยงกุ้ง อาชีพหลักที่สร้างรายได้มั่นคง**

กุ้งเป็นสัตว์น้ำที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย ดูแลไม่ยุ่งยาก และสามารถให้ผลผลิตได้สูง เลี้ยงกุ้งเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้มั่นคงให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี

**ประเภทของกุ้ง**

กุ้งมีหลากหลายสายพันธุ์ให้เลือกเลี้ยง แต่ละสายพันธุ์มีจุดเด่นที่แตกต่างกันออกไป ที่นิยมเลี้ยงกัน ได้แก่

* **กุ้งกุลาดำ** เป็นกุ้งที่เลี้ยงกันทั่วไปในประเทศไทย ทนทานต่อสภาพอากาศและโรคภัยไข้เจ็บ
* **กุ้งขาวแวนนาไม** เป็นกุ้งที่เลี้ยงกันมากในต่างประเทศ โตเร็ว ให้ผลผลิตสูง
* **กุ้งก้ามกราม** เป็นกุ้งที่มีรสชาติดี นิยมบริโภคกันมาก

**การเตรียมการเลี้ยงกุ้ง**

ก่อนเลี้ยงกุ้งควรเตรียมการดังนี้

* **เลือกพื้นที่เลี้ยง** พื้นที่เลี้ยงควรอยู่ใกล้แหล่งน้ำ มีน้ำไหลผ่าน มีระบบระบายน้ำที่ดี
* **สร้างบ่อกุ้ง** บ่อกุ้งควรมีขนาดใหญ่พอสำหรับจำนวนกุ้งที่จะเลี้ยง บ่อควรมีหลังคาเพื่อป้องกันแดดและฝน
* **เตรียมอุปกรณ์เลี้ยงกุ้ง** อุปกรณ์เลี้ยงกุ้ง ได้แก่ อาหารกุ้ง น้ำดื่มกุ้ง กรงเลี้ยงกุ้ง

**การดูแลรักษากุ้ง**

การดูแลรักษากุ้งสามารถทำได้ดังนี้

* **ให้อาหารกุ้ง** ควรให้อาหารกุ้งอย่างสม่ำเสมอ อาหารกุ้งควรมีครบถ้วนทั้งโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่
* **ให้น้ำดื่มกุ้ง** ควรให้น้ำดื่มกุ้งอย่างสะอาดและเพียงพอ
* **ควบคุมอุณหภูมิและคุณภาพน้ำ** อุณหภูมิของน้ำที่เหมาะสมในการเลี้ยงกุ้งคือ 25-30 องศาเซลเซียส คุณภาพน้ำควรมีค่า pH ประมาณ 7.5-8.5
* **ป้องกันโรคกุ้ง** ควรหมั่นตรวจสุขภาพกุ้งอย่างสม่ำเสมอ และป้องกันโรคกุ้งตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่

**เคล็ดลับการเลี้ยงกุ้ง**

* เลือกสายพันธุ์กุ้งที่เหมาะกับความต้องการของตนเอง
* เตรียมการเลี้ยงกุ้งให้พร้อมก่อนเลี้ยง
* ดูแลรักษากุ้งอย่างสม่ำเสมอ

การเลี้ยงกุ้งเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้มั่นคงให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี เพียงศึกษาข้อมูลและเตรียมการอย่างรอบคอบก็สามารถเลี้ยงกุ้งให้ประสบความสำเร็จ

**ข้อดีของการเลี้ยงกุ้ง**

* เลี้ยงง่าย ดูแลไม่ยุ่งยาก
* สามารถให้ผลผลิตได้สูง
* ตลาดมีความต้องการสูง

**ข้อเสียของการเลี้ยงกุ้ง**

* ลงทุนเริ่มต้นค่อนข้างสูง
* เสี่ยงต่อโรคระบาด

**ช่องทางการจำหน่ายผลผลิตกุ้ง**

* ขายส่งให้กับพ่อค้าคนกลาง
* ขายปลีกให้กับผู้บริโภคโดยตรง
* ส่งออกไปยังต่างประเทศ

การเลี้ยงกุ้งเป็นอาชีพหลักที่สร้างรายได้มั่นคงให้กับเกษตรกรได้เป็นอย่างดี เพียงศึกษาข้อมูลและเตรียมการอย่างรอบคอบก็สามารถเลี้ยงกุ้งให้ประสบความสำเร็จ
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

 

ลงประกาศฟรี โฆษณาฟรี ลงประกาศขายบ้านฟรี ลงประกาศขายบ้าน ขายที่ดิน ขายคอนโด ขายรถ สินค้าอุตสาหกรรม อาหารเสริม เครื่องสำอางค์ แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว โปรโมทสินค้าฟรี เว็บประกาศฟรี ติดอันดับ Google